ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านบัลลังก์ ตั้งขึ้นเป็นหมู่บ้านประมาณ ปี พ.ศ.2433 เดิมชาวบ้านเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านป่าร้าง” หรือ “ป่ารั้ง” เพราะเดิมหมู่บ้านนี้มีโจรชุกชุมชาวบ้านต่างก็อพยพหนี หมู่บ้านจึงกลายเป็นหมู่บ้านร้าง ต่อมาชาวบ้านได้กลับมาอยู่เลยเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “ป่ารั้ง” พอมาถึงปี พ.ศ.2466 หลวงพ่อพยุงได้เริ่มก่อสร้างวัดและได้ตั้งชื่อวัด พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็น “บ้านบัลลังก์” เพราะภายในวัดมีแท่นบัลลังก์เป็นหินสมัยโบราณ ตั้งอยู่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้เพราะหนักและไม่ทราบอายุ ต่อมาชาวบ้านได้พร้อมใจกันปั้นองค์พระเพื่อประดิษฐานบนแท่นบัลลังก์ ซึ่งเป็นที่เคารพและศรัทธาเป็นอย่างมาก ชาวบ้านจึงได้เรียกว่าหลวงพ่อแท่น
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 3,200 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567)
รวม 978 คน
แยกเป็น ชาย 488 คน หญิง 490 คน
จำนวนครัวเรือน
359 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านห้วยมะขาม หมู่ที่ 7 ต.หนองสะเดา อ.สามชุก
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองเต่าทอง หมู่ที่ 1 ต.หนองราชวัตร อ.หนองฟหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านสระบ้านซ่อง หมู่ที่ 1 ต.หนองผักนาก อ.สามชุก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองปลารอด หมู่ที่ 8 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 97 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 60 ครัวเรือน
ค้าขาย 8 ครัวเรือน
รับราชการ 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 30 ครัวเรือน
แม่บ้าน 27 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง
โรงสีข้าว 2 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
แหล่งน้ำธรรมชาติ
จำนวนคลองธรรมชาติ จำนวน 2 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 5 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 20 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 3 แห่ง
เหมืองน้ำ 11 สาย
สระกักเก็บน้ำ 65 ลูก
สภาพทางสังคม
โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือโรงเรียนวัดบัลลังก์
วัด 1 แห่ง คือวัดบัลลังก์
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 3 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์วัดบัลลังก์
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านหนองหลวง เป็นหมู่บ้านของหมู่ที่ 2 ในตำบลหนองหญ้าไซ แต่เดิมบ้านหนองหลวงขึ้นอยู่กับอำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ในหมู่บ้านจะมีวัดอยู่คือวัดหนองหลวง ชาวบ้านจึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านหนองหลวง” ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ 1 กิโมเมตร
เนื้อที่
จำนวน 1,868 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 519 คน
แยกเป็น ชาย 252 คน หญิง 267 คน
จำนวนครัวเรือน 193 หลังคาเรือน
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านหนองจิกยาว หมู่ที่ 2 ต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองหญ้าไซ หมู่ที่ 5 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
บ้านหนองปลารอด หมู่ที่ 8 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านห้วยมะขาม หมู่ที่ 7 ต.หนองสะเดา อ.สามชุก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านบ่อหว้า หมู่ที่ 6 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 130 ครัวเรือน
ค้าขาย 2 ครัวเรือน
รับราชการ 11 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 102 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 1 แห่ง
ถนน
ถนนลาดยาง 1 สาย ระยะทาง 3 กม.
ถนน คสล. 5 สาย ระยะทาง 2.5 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 3 สาย ระยะทาง 5 กม.
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 4 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 5 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 3 แห่ง
คลองชลประทาน 1 สาย
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดหนองหลวง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ
กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านบ่อหว้า แต่เดิมภายในหมู่บ้านมีบ่อน้ำตื้นอยู่บริเวณบ่อน้ำมีต้นหว้าต้นใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง ชาวบ้านที่มาตักน้ำที่บ่อน้ำดังกล่าว ได้เรียกชื่อบ่อน้ำนี้ว่า “บ่อหว้า” เมื่อมีชาวบ้านมาอยู่อาศัยกันมากขึ้น จึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านบ่อหว้า” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ 5 กิโมเมตร
เนื้อที่
จำนวน 3,452 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 794 คน
แยกเป็น ชาย 369 คน หญิง 425 คน
จำนวนครัวเรือน 302 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านโคกพระ หมู่ที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4, หมู่ที่ 12 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านบ่อหว้า หมู่ที่ 6 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านโค้งบ่อแร่ หมู่ที่ 9 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 127 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 53 ครัวเรือน
ค้าขาย 25 ครัวเรือน
รับราชการ 5 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 107 ครัวเรือน
แม่บ้าน 1 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช้ 206 ครัวเรือน
ครัวเรือนที่ไม่มีน้ำประปาใช้ 5 ครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง 3 สาย ระยะทาง 7 กม.
ถนน คสล. 5 สาย ระยะทาง 6.85 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 16 สาย ระยะทาง 12 กม.
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 1 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 4 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง
เหมืองน้ำ 13 สาย
สระกักเก็บน้ำ 31 ลูก
คลองชลประทาน 2 สาย
คลองส่งน้ำ 2 สาย
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดบ่อหว้า
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 6 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์วัดบ่อหว้า
กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปาประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
ในอดีตที่หมู่บ้านดอนสำโรงนี้ จะมีต้นสำโรงขึ้นอยู่มากมายบนพื้นดินที่มีลักษณะเป็นดอน และที่ดอนนั้นจะมีต้นสำโรงขึ้นอยู่ ชาวบ้านจึงพากันเรียกว่า “บ้านดอนสำโรง” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซ ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 2,500 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 792 คน
แยกเป็น ชาย 374 คน หญิง 418 คน
จำนวนครัวเรือน 297 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรงเหนือ หมู่ที่ 12 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองมะฟราน หมู่ที่ 13 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านบ่อหว้า หมู่ที่ 3, หมู่ที่6 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านตลุกพัฒนา หมู่ที่ 8 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 150 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 30 ครัวเรือน
ค้าขาย 4 ครัวเรือน
รับราชการ 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 160 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
จำนวนครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช้ 231 ครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ไม่มีน้ำประปาใช้ 7 ครัวเรือน
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 3 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 5 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 2 แห่ง
เหมืองน้ำ 4 สาย
สระกักเก็บน้ำ 12 ลูก
คลองส่งน้ำ 4 สาย
ถนน
ถนนลาดยาง 1 สาย ระยะทาง 4 กม.
ถนน คสล 4 สาย ระยะทาง 0.48 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 6 สาย ระยะทาง 11 กม.
สภาพทางสังคม
โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนวัดดอนสำโรง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนสำโรง
วัด 1 แห่ง คือวัดดอนสำโรง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 3 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์วัดดอนสำโรง
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้ใช้น้ำ
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
ในอดีตหมู่บ้านนี้ จะมีหญ้าไซขึ้นอยู่บริเวณหนองน้ำมากมาย หญ้าชนิดนี้มีลักษณะใบเรียวเล็กและมีความคม ใบหญ้าไซมีลักษณะคล้ายใบแฝกแต่เล็กกว่ามาก ชาวบ้านจึงนำชื่อหญ้าชนิดนี้มาตั้งเป็นชื่อหมู่บ้าน เรียกว่า “บ้านหนองหญ้าไซ” แต่ก่อนขึ้นอยู่กับอำเภอสามชุก ต่อมาตำบลหนองหญ้าไซแยกเป็นกิ่งอำเภอหนองหญ้าไซ จึงได้ขึ้นอยู่กับอำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
ที่ตั้ง
เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอหนองหญ้าไซ
เนื้อที่
จำนวน 2,545 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 861 คน
แยกเป็น ชาย 469 คน หญิง 392 คน
จำนวนครัวเรือน 476 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 2 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองเต่าทอง หมู่ที่ 1 ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองปลารอด หมู่ที่ 8 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองมะฟราน หมู่ที่ 13 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 175 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 60 ครัวเรือน
ค้าขาย 10 ครัวเรือน
รับราชการ 70 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 232 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
โรงสีข้าว 2 แห่ง
โรงงานอุตสาหกรรม 2 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 1 แห่ง
ถนน
ถนนลาดยาง 2 สาย ระยะทาง 5 กม.
ถนน คสล. 3 สาย ระยะทาง 2 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 4 สาย ระยะทาง 5 กม.
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
จำนวนครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือนแหล่งน้ำธรรมชาติ
จำนวนคลอง จำนวน 1 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 3 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 15 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง
เหมืองน้ำ 4 สาย
สระกักเก็บน้ำ 2 ลูก
สภาพทางสังคม
โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือโรงเรียนอนุบาลหนองหญ้าไซ
วัด 1 แห่ง คือวัดท่าโป่งพุทธาราม
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 3 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านบ่อหว้า แต่เดิมภายในหมู่บ้านมีบ่อน้ำตื้นอยู่บริเวณบ่อน้ำมีต้นหว้าต้นใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง ชาวบ้านที่มาตักน้ำที่บ่อน้ำดังกล่าวได้เรียกชื่อบ่อน้ำนี้ว่า “บ่อหว้า” เมื่อมีชาวบ้านมาอยู่อาศัยกันมาก จึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านบ่อหว้า” ต่อมาจำนวนประชากรมากขึ้น จึงได้แยกหมู่บ้านใหม่ เป็นหมู่ที่ 6 บ้านบ่อหว้า
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 3,335 ไร่
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านหนองจิกยาว หมู่ที่ 2 ต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 2 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองหญ้าไซ หมู่ที่ 2 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านบ่อหว้า หมู่ที่ 3 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 520 คน
แยกเป็น ชาย 260 คน หญิง 260 คน
จำนวนครัวเรือน 218 หลังคาเรือน
อาชีพ
เกษตรกรรม 160 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 58 ครัวเรือน
ค้าขาย 2 ครัวเรือน
รับราชการ 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 150 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ถนน
ถนนลาดยาง 1 สาย ระยะทาง 2 กม.
ถนน คสล. 3 สาย ระยะทาง 1.2 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 5 สาย ระยะทาง 7 กม.
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา จำนวนครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
แหล่งน้ำธรรมชาติ
จำนวนคลอง 1 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 2 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 2 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 2 แห่ง
เหมืองน้ำ 10 สาย
สระกักเก็บน้ำ 2 ลูก
คลองชลประทาน 1 สาย
คลองส่งน้ำ 1 สาย
สภาพทางสังคม
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 1 แห่ง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
เดิมบ้านดอนกระเบื้อง ขึ้นอยู่กับหมู่ที่ 4 บ้านดอนสำโรง ต่อมามีจำนวนประชากรมากขึ้น จึงได้แยกออกมาตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่ชื่อ “บ้านดอนกระเบื้อง” หมู่ที่ 7 ตำบลหนองหญ้าไซ จนถึงปัจจุบันนี้
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันตก ระยะทาง 7 กิโมเมตร
เนื้อที่
จำนวน 5,062 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 565 คน
แยกเป็น ชาย 285 คน หญิง 280 คน
จำนวนครัวเรือน 212 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองโก หมู่ที่ 11 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านโค้งบ่อแร่ หมู่ที่ 9 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 98 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 35 ครัวเรือน
ค้าขาย 6 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 62 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อบาดาล 30 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 2 แห่ง
เหมืองน้ำ 2 สาย
สระกักเก็บน้ำ 1 ลูก
คลองส่งน้ำ 2 สาย
ถนน
ถนนลาดยาง 1 สาย ระยะทาง 3 กม.
ถนน คสล. 2 สาย ระยะทาง 0.8 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 5 สาย ระยะทาง 14.8 กม.
สภาพทางสังคม
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มสตรีแม่บ้าน
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
ในสมัยก่อนที่จะเรียกว่า “บ้านหนองปลารอด” มีหนองน้ำใหญ่อยู่บริเวณริมถนนเส้นทางไปอ.สามชุก น้ำจะไหลข้ามถนนมาอีกฝั่ง ฝูงปลาจะว่ายน้ำข้ามมา ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านหนองปลารอด” แต่ก่อนอยู่หมู่ที่ 1 ต.หนองหญ้าไซ ต่อมาได้แยกเป็นหมู่บ้านใหม่อยู่หมู่ที่ 8 ต.หนองหญ้าไซ
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ 4 กิโมเมตร
เนื้อที่
จำนวน 5,415 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 614 คน
แยกเป็น ชาย 305 คน หญิง 309 คน
จำนวนครัวเรือน 245 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านห้วยมะขาม หมู่ที่ 7 ต.หนองสะเดา อ.สามชุก
บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 2 ต.หนอหงญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองเต่าทอง หมู่ 1 ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านบัลลังก์ หมู่ที่ 1 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองหญ้าไซ หมู่ 5 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 102 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 30 ครัวเรือน
ค้าขาย 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 67 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ 186 ครัวเรือน
ครัวเรือนไม่มีไฟฟ้าใช้ 1 ครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 1.5 กม.
ถนน คสล. จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 3 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 11 สายทาง ระยะทาง 15 กม.
แหล่งน้ำธรรมชาติ
คลอง 1 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 6 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 20 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 2 แห่ง
เหมืองน้ำ 5 สาย
สระกักเก็บน้ำ 15 ลูก
คลองส่งน้ำ 2 สาย
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดหนองตะคลอง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 2 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปาประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านหนองกวาง หมู่ที่ 9 สมัยก่อนมีชาวบ้านอาศัยอยู่ริมหนองน้ำ และมีป่าไม้อยู่รอบๆ ชาวบ้านเห็นกวางมากินน้ำที่หนองน้ำแห่งนี้จึงช่วยกันล้อมจับ กวางวิ่งหนี อยู่ๆ กวางก็หายไปทางศาลที่ตั้งอยู่ข้างหนองน้ำนั้น ชาวบ้านจึงเรียกชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “บ้านหนองกวาง”
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ระยะทางประมาณ 6.5 กิโมเมตร
เนื้อที่
จำนวน 4,586 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 523 คน
แยกเป็น ชาย 246 คน หญิง 277 คน
จำนวนครัวเรือน 197 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านหนองมะฟราน หมู่ที่ 13 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านทับมะเขือ หมู่ที่ 6 ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านมาบพยอม หมู่ที่ 5 ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ
บ้านหนองเสือทับหมี หมู่ที่ 8 ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองสำโรง หมู่ 10 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
บ้านหนองโก หมู่ที่ 11 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 86 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 26 ครัวเรือน
ค้าขาย 5 ครัวเรือน
รับราชการ 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 46 ครัวเรือน
แม่บ้าน 1 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
โรงงานปุ๋ยอินทรีย์สามพี่น้อง 1 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ 140 ครัวเรือน
ครัวเรือนไม่มีไฟฟ้าใช้ 3 ครัวเรือนจำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 1 กม.
ถนน คสล. จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 2 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 12 สายทาง ระยะทาง 12 กม.
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อบาดาล 35 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 5 แห่ง
เหมืองน้ำ 3 สาย
สระกักเก็บน้ำ 60 ลูก
คลองส่งน้ำ 1 สาย
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดไทรหนองกวาง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
เดิมบ้านหนองสำโรงเป็นป่า มีชาวบ้านได้เข้าไปตัดไม้เผาถ่านในบริเวณนั้นได้พบหนองน้ำและต้นสำโรงใหญ่อยู่ริมหนองน้ำนั้น จึงได้เรียกชื่อหนองน้ำว่า “หนองสำโรง” เมื่อเห็นว่าหนองสำโรงมีความอุดมสมบูรณ์ จึงได้ชักชวนกันมาตั้งถิ่นฐานจนกลายเป็นชุมชนบ้านหนองสำโรงจนถึงปัจจุบัน
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 2,878 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 559 คน
แยกเป็น ชาย 278 คน หญิง 281 คน
จำนวนครัวเรือน 223 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านหนองโก หมู่ที่ 11 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านทับยายดาบ หมู่ที่ 5 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองกวาง หมู่ที่ 9 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านทัพตาแทน หมู่ที่ 4 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 96 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 32 ครัวเรือน
ค้าขาย 4 ครัวเรือน
รับราชการ 2 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 56 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
–
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 3 กม.
ถนน คสล. จำนวน 1 สายทาง ระยะทาง 0.1 กม.
ถนนดิน,หินคลุก จำนวน 6 สายทาง ระยะทาง 7 กม.
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อบาดาล 9 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 4 แห่ง
เหมืองน้ำ 2 สาย
สระกักเก็บน้ำ 5 ลูก
คลองส่งน้ำ 1 สาย
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดหนองสำโรง
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
เมื่อครั้งในอดีต มีหนองน้ำอยู่หนองหนึ่งและมีต้นตะโกต้นใหญ่อยู่บริเวณหนองน้ำ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “บ้านหนองโก” และต่อมามีครอบครัวคุณพ่อบัวและคุณแม่โฉม ทองสุข ได้มาอยู่ หมู่บ้านนี้เป็นครอบครัวแรกและต่อมามีอีกหลายครอบครัวได้อพยพมาอยู่ในหมู่บ้านหนองโกโดยยึดอาชีพเลี้ยงวัว เลี้ยงควายและทำนา เป็นส่วนมาก
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 8,970 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 884 คน
แยกเป็น ชาย 441 คน หญิง 443 คน
จำนวนครัวเรือน 361 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
บ้านดอนกระเบื้อง หมู่ที่ 7 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองสำโรง หมู่ที่ 10 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองมะฟราน หมู่ที่ 13 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองกระอิฐ หมู่ที่ 6 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 214 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 8 ครัวเรือน
ค้าขาย 7 ครัวเรือน
รับราชการ 1 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
โรงสีข้าว 1 แห่ง
ถนน
ถนนลาดยาง 2 สาย ระยะทาง 5 กม.
ถนน คสล. 2 สาย ระยะทาง 1.5 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 4 สาย ระยะทาง 6 กม.
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 4 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 110 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 4 แห่ง
สภาพทางสังคม
โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือโรงเรียนบ้านหนองโก
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองโก
วัด 1 แห่ง คือวัดหนองโก
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 4 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มออมทรัพย์สัจจะสะสมทรัพย์
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์วัดหนองโก
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปาประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
แต่เดิมบ้านดอนสำโรงเหนือ ขึ้นอยู่กับบ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต่อมาปี 2544 หมู่บ้านมีจำนวนประชากรมากขึ้น จึงต้องการแบ่งแยกหมู่บ้านออกเพื่อง่ายต่อการปกครอง จึงแยกเป็นหมู่บ้านใหม่และหมู่บ้านนี้อยู่ทางทิศเหนือของบ้านดอนสำโรง จึงตั้งชื่อหมู่บ้านเป็น “บ้านดอนสำโรงเหนือ” หมู่ที่ 12 ตำบลหนองหญ้าไซ อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจากอำเภอหนองหญ้าไซ ไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 3,225 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 490 คน
แยกเป็น ชาย 232 คน หญิง 258 คน
จำนวนครัวเรือน 173 หลังคาเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านบ่อหว้า หมู่ที่ 3 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านตลุกพัฒนา หมู่ที่ 9 ต.ทัพหลวง อ.หนองหญ้าไซ
อาชีพ
เกษตรกรรม 123 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 42 ครัวเรือน
ค้าขาย 8 ครัวเรือน
รับราชการ 3 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 113 ครัวเรือน
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 1 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือนจำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา
ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง 1 สาย ระยะทาง 2 กม.
ถนน คสล. 2 สาย ระยะทาง 0.7 กม.
ถนนดิน,หินคลุก 3 สาย ระยะทาง 8 กม.
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 3 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 2 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง
เหมืองน้ำ 2 สาย
คลองชลประทาน 1 สาย
สภาพทางสังคม
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
เดิมเป็นหมู่ที่ 5 ตำบลหนองหญ้าไซ ต่อมาประชาชนย้ายออกจากตลาดเทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ เข้ามาอยู่ในพื้นที่นาของตนเองเพิ่มมากขึ้น โดยอาศัยกันอย่างกระจัดกระจายไม่เกาะกลุ่ม หมู่ที่ 5 จึงมีลักษณะใหญ่มาก งบประมาณแต่ละปีไม่เพียงพอ ในปี 2544 ประชาชนจึงร่วมกันขอแยกหมู่บ้านเป็น หมู่ที่ 13 “บ้านหนองมะฟราน” ตำบลหนองหญ้าไซ
ที่ตั้ง
อยู่ห่างจาก อำเภอหนองหญ้าไซไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร
เนื้อที่
จำนวน 2,700 ไร่
จำนวนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2567) รวม 829 คน
แยกเป็น ชาย 407 คน หญิง 422 คน
จำนวนครัวเรือน 382 หลังคาเรือน
อาชีพ
เกษตรกรรม 170 ครัวเรือน
รับจ้างทั่วไป 70 ครัวเรือนค้าขาย 50 ครัวเรือน
รับราชการ 20 ครัวเรือน
นักเรียน/นักศึกษา 100 ครัวเรือน
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนสำโรง หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองกวาง หมู่ที่ 9 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองหญ้าไซ หมู่ที่ 5 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหนองโก หมู่ที่ 11 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน
ปั้มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 1 แห่ง
ร้านซ่อมยานยนต์ 4 แห่ง
ร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 2 แห่ง
ไฟฟ้า
ครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ 231 ครัวเรือน
ครัวเรือนไม่มีไฟฟ้าใช้ 5 ครัวเรือน
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา ครัวเรือนมีน้ำประปาใช้ครบทุกครัวเรือน
ถนน
ถนนลาดยาง 3 สาย
ถนน คสล. 2 สาย
ถนนดิน,หินคลุก 6 สาย
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
จำนวนบ่อโยก 5 แห่ง
จำนวนบ่อบาดาล 40 แห่ง
ประปาหมู่บ้าน 6 แห่ง
เหมืองน้ำ 2 สาย
คลองส่งน้ำ 2 แห่ง
สระกักเก็บน้ำ 10 แห่ง
สภาพทางสังคม
วัด 1 แห่ง คือวัดกาญจนาราม
โรงพยาบาล 1 แห่ง คือโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ
ศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง
กลุ่มมวลชนที่จัดตั้งขึ้น
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.)
กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา